วันศุกร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553

ประเมินผลงาน 100 คะแนน ^^

เรียนเชิญ ... เพื่อนๆ น้องๆ คุณครู และผู้มีเกียรติทุกท่าน เข้าชม BLOG
และร่วมประเมินผลงาน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน

**ช่วยให้คะแนน และคอมเม้น แสดงความคิดเห็น กันด้วยนะค๊าา :))


ฝากด้วยค๊าา




^_______________^

วันพฤหัสบดีที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2553

กิจกรรม 12 - 16 กรกฎาคม 2553 คะแนน 40 คะแนน ^^

สืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ได้ศึกษาไปและยังไม่เข้าใจในรูปแบบ Links ลงใน Blog
ของตนไม่ต่ำกว่า 10 เว็บ ( 10 คะแนน)..

-> คลื่นกล
คำว่าคลื่นตามคำจำกัดความ หมายถึง การรบกวน (disturbance) สภาวะสมดุลทางฟิสิกส์
และการรบกวนนั้นจะเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งออกไปยังอีกจุดหนึ่งได้ตามเวลาที่ผ่านไป
ในบทนี้จะกล่าวถึงกฎเกณฑ์ต่างๆ ของคลื่นในทางฟิสิกส์


-> คลื่นสปริง

การส่งผ่านพลังงานเิกิดจากการกระทำต่อกัน(Interaction)ระหว่างโมเลกุลของตัวกลาง

ที่อยู่ติดๆกันในลักษณะต่อเนื่องกันไป เช่น คลื่นในสปริงจะมีการกระทำต่อกันระหว่า

งขดลวดที่อยู่ติดกันในลักษณะต่อเนื่องกันไปทำให้เราเห็นเ้ป็นลักษณะส่วนอัดและส่วนขยา

ที่มา http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/wave5/categories/direction.html



-> คลื่นในเส้นเชือก
สำหรับคลื่นในเส้นเชือก เกิดจากการสะบัดปลายเชือก ทำให้เกิดการรบกวนเคลื่อนที่
จากปลายสำหรับคลื่นในเส้นเชือกเกิดจากการสะบัดปลายเชือกทำให้เกิด
การรบกวนเคลื่อนที่จากปลายข้างหนึ่งไปยังอีกข้างหนึ่ง ที่เราเรียกว่า คลื่น
โดนที่เส้นเชือกก็ไม่ได้เคลื่อนที่ตามคลื่นไปด้วย


-> เสียง
เสียงเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของคลื่น เสียงเป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่อาศัยการส่งผ่านพลังงาน
ผ่านตัวกลาง เช่น เสียงเดินทางผ่านอากาศทำให้เราได้ยินเสียงได้ในการส่งผ่านพลังงาน
นั้นเกิดจากการชนกันระหว่างโมเลกุลอากาศที่อยู่ติดๆกันทำให้เกิดการถ่ายโอนพลังงาน
ต่อกันเป็นทอดๆโดยที่โมเลกุลอากาศไม่ได้เคลื่อนที่ตามไปด้วยโมเลกุลอากาศเพียงแต่
เกิดการสั่นไปมาซึ่งทำให้เกิดเป็นส่วนอัดและขยายของอากาศต่อมาจากระทั่งถึงหูผู้ฟัง
ทำให้เราได้ยินเสียงนั้นๆ ได้


-> คุณสมบัติของเสียง
เมื่อเสียงตกกระทบกับพื้นผิวที่เสียงไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านไปได้เสียงจะสะท้อนกลั
มาเสียงที่สะท้อนกลับมาเสียงที่สะท้อนกลับมา เรียกว่า เสียงก้อง (echo) เสียงก้อง
ที่สะท้อนกลับมาก็อาจจะเบากว่าเสียงจากต้นกำเนิดทั้งนี้เพราะว่าพลังงานของคลื่น
ถูกดูดกลืนไประหว่างที่เสียงเคลื่อนที่ วัสดุบางชิ้นสะท้อนเสียงออกมาได้เป็นอย่างดี
ในขณะที่บางชนิดก็ดูดกลืนเสียงเป็นส่วนใหญ่การประยุกต์ในเรื่องของเสียง
โดยมากใช้หลักการของการสะท้อนของเสียงจากพื้นผิว โซนาร์


กิจกรรม 5-9 ก.ค. 53 คะเเนนรวม 90 คะเเนน ^^

สืบค้นเว็บที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กำลังศึกษาที่ตนเองยังไม่เข้าใจ บันทึกลงใน Blog ของตนตั้งแต่ 10 - 20 เว็บ ( 20 คะแนน )

-> สมบัติของคลื่น

http://www.skn.ac.th/skl/skn42/phy67/function.htm






-> คลื่นเสียง






-> การสั่น






-> ความเข้มเสียง




-> มลภาวะทางเสียง



-> คลื่นกระแทก


วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2553

*เว็ปที่เกี่ยวกับ "คลื่น"

1.http://th.wikipedia.org/wiki/คลื่น

*ข้อสอบ o-net ปี 52 ล่าสุด



ข้อ53. ตอบข้อ 3.การสะท้อน



1. การสะท้อนของคลื่น การสะท้อนของคลื่นหมายถึง การเปลี่ยนทิศทางการเดินทางของคลื่นโดยทันทีทันใดเมื่อคลื่นนั้นเดินทาง ตกกระทบที่ผิวของตัวกลาง นั่นคือ คลื่นกระดอนออกจากผิวสะท้อน ของตัวกลาง ในลักษณะเดียวกับแสงสะท้อนจากกระจกเงา จากรูปที่ 2 แสดงปรากฎการณ์ ของการสะท้อนของคลื่นวิทยุ สังเกตได้ว่ามุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
ที่มา http://www.google.co.th/images?um=1&hl=th&biw=1024&bih=647&tbs=isch:1&sa=1&q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99&aq=f&aqi=g5&aql=&oq=&gs_rfai==



ข้อ54.ตอบข้อ4.ความยาวคลื่นบนเส้นเชือกเท่าเดิม แต่อัตรเร็วของคลื่นเพิ่มเป็นสองเท่าตามสมการ v = fI



-เมื่อเราสบัดเชือกขึ้นลง จะทำให้เกิดคลื่นตามขวางขึ้นในเส้นเชือก โดยคลื่นที่เกิดขึ้นจะเคลื่อนที่ไปยังอีกปลายด้านหนึ่งของเชือก
-เมื่อเราสบัดเชือกเร็วขึ้น ความยาวคลื่นในเส้นเชือกก็จะลดลงโดยถือว่าความเร็วของคลื่นในเส้นเชือกด้วยอัตราเร็วคงตัว
-เมื่อเราสบัดเชือกขึ้นลง ให้เกิดคลื่นดล ผ่านรอยต่อของเส้นเชือก 2 เส้นที่มีขนาดไม่เท่ากัน เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปพบรอยต่อจะเกิด
-การสะท้อนและหักเห จากรูปคลื่นเคลื่อนที่จากความเร็วมากไปหาความเร็วน้อย โดยคลื่นสะท้อนจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180 องศา
-เมื่อเราสบัดเชือกให้เกิดคลื่นดล ในเส้นเชือกซึ่งปลายด้านหนึ่งตรึงไว้ คลื่นสะท้อนจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180 องศา
-เมื่อเราสบัดเชือกให้เกิดคลื่นดล ในเส้นเชือกปลายอิสระ คลื่นสะท้อนจะมีเฟสคงเดิม
ที่มา http://www.pt.ac.th/ptweb/prajead/wave/basic/basic1/tran.html



ข้อ55.ตอบข้อ 1.การหักเห


การหักเหของเสียงเนื่องจากอัตราเร็วในอากาศขึ้นกับอุณหภูมิ เมื่อบริเวณ 2 แห่ง มีอุณหภูมิของอากาศแตกต่างกัน เสียงเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งจะเกิดการหักเหทำให้คลื่นเสียงเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวอย่างเช่น การที่เราเห็นฟ้าแลบ บางครั้งไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง เพราะเสียงได้หักเหไปทางอื่น จึงมาไม่ถึงหูผู้ฟัง การหักเหของเสียง เมื่อเดินทางผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน หรือตัวกลางชนิดเดียวกันแต่อุณหภูมิต่างกัน จะมีเงื่อนไขเหมือนกับคลื่นน้ำ ซึ่งจะเห็นว่าเมื่อเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยไปสู่ตัวกลางที่มีความหนาแน่นมาก ทำให้คลื่นมีทิศทางเบนออกจากเส้นปกติ และถ้าเสียงเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำไปบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงจะทำให้คลื่นเบนออกจากเส้นปกติ
ที่มา http://www.google.co.th/images?um=1&hl=th&biw=1024&bih=647&tbs=isch:1&sa=1&q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%AB&aq=f&aqi=g2&aql=&oq=&gs_rfai=


ข้อ56.ตอบข้อ 1.คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดมีอัตราเร็วในสุญญากาศเท่ากัน
สมการของแม็กซ์เวลซ์ทั้ง 4 สมการบอกเราว่า
- เคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นการสั่นของสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า
- ความเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีค่าคงที่ ในสุญญากาศ มีค่าเท่ากับการค้นพบของแม็กซเวลซ์สร้างความสงสัยให้กับนักฟิสิกส์สมัยนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่ว่า …คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสุญญากาศได้อย่างไร? เพราะตามความเข้าใจของนักฟิสิกส์สมัยนั้น คลื่นทุกชนิดต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ แต่เนื่องจากนิยามของสุญญากาศ (Vacuum) คือบริเวณที่ไม่มีอะไรเลย ถ้าเป็นเช่นนั้นแล้วอะไรเป็นตัวกลางให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (ตัวกลางอะไรที่สั่น)Maxwell เสนอว่าตัวกลางที่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนที่คือ อีเทอร์ (Aether)
- อวกาศไม่ได้เป็นที่ว่าง ที่บรรจุเต็มด้วยอีเทอร์
- เคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนที่โดยมีการสั่นของตัวกลางคือ อีเทอร์
ที่มา http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/285/17/2/EMW.htm


ข้อ57.ตอบข้อ 3.การเกิดน้ำขึ้น-น้ำลง

การขึ้นลงของน้ำ เกิดจากแรงดึงดูดของโลกกับดวงจันทร์ต่างหาก แรงที่โลกดึงดูดดวงจันทร์จะเท่ากับแรงที่ดวงจันทร์ดึงดูดโลก อันนี้ก็คือกฎข้อที่สามของนิวตันนั่นเอง แรงดึงดูดนี้ทำให้ดวงจันทร์หมุนอยู่รอบโลก หรือจะพูดว่าโลกหมุนอยู่รอบดวงจันทร์ก็ได้เช่นเดียวกัน การหมุนรอบซึ่งกันและกันนี้ ทำให้มีจุดหมุนร่วมกันจุดหนึ่ง ซึ่งอยู่ระหว่างมวลทั้งสอง จุดนี้ก็คือจุดศูนย์กลางมวลของโลกและดวงจันทร์ เพราะว่ามวลของโลกใหญ่กว่าดวงจันทร์มากดังนั้นจุดศูนย์กลางนี้จะอยู่ใกล้กับโลกมากกว่า หรืออยู่ภายในโลกนั่นเองดังรูป
ที่มา http://www.google.co.th/images?hl=th&q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%82%E0%B8%B6%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%87&um=1&ie=UTF-8&source=og&sa=N&tab=wi&biw=1024&bih=647

- เคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นการสั่นของสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า
- ความเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีค่าคงที่ ในสุญญากาศ มีค่าเท่ากับการค้นพบของแม็กซเวลซ์สร้างความสงสัยให้กับนักฟิสิกส์สมัยนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่ว่า …คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสุญญากาศได้อย่างไร? เพราะตามความเข้าใจของนักฟิสิกส์สมัยนั้น คลื่นทุกชนิดต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ แต่เนื่องจากนิยามของสุญญากาศ (Vacuum) คือบริเวณที่ไม่มีอะไรเลย ถ้าเป็นเช่นนั้นแล้วอะไรเป็นตัวกลางให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (ตัวกลางอะไรที่สั่น)Maxwell เสนอว่าตัวกลางที่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนที่คือ อีเทอร์ (Aether)
- อวกาศไม่ได้เป็นที่ว่าง ที่บรรจุเต็มด้วยอีเทอร์
- เคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้าเคลื่อนที่โดยมีการสั่นของตัวกลางคือ อีเทอร์
ที่มา http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/285/17/2/EMW.htm

*ข้อสอบ o-net ปี 50